「狐の嫁入り」をタイ語で説明してみる

今朝、近所で「狐の嫁入り」がありました。

ふと、「天気雨」を「狐の嫁入り」と呼ぶこの言い回しは日本独自ではないかと思い、タイ語作文のトレーニングも兼ねて、タイ語での説明を試みてみました。

タイ人によるネイティブチェックは受けていませんので、タイ語の正確性は全く保証できません。

Facebookにほぼ同じ内容を投稿したところ、タイ人より「間違いはたくさんあるけど、内容はちゃんとわかる」とのことでした。「狐の嫁入り」を伝えるという目的は達成しましたが、間違いが多いからか、どこが間違えているのかは指摘がありませんでした。修正機会があれば、直していきたいです(2020.8.28)

เมื่อเช้านี้ มี”狐の嫁入り(きつねのよめいり)”ใกล้ๆบ้านผม
“狐の嫁入り”หมายถึงว่าพิธีแต่งงานของจิ้งจอกแต่คำศัพท์นี้มีความหมายพิเศษครับ 
※嫁入り=เป็นเจ้าสาวแล้วก็เข้าไปบ้านสามี หรือ เป็นพิธีแต่งงาน

คือ แม้อากาศแจ่มใสแต่ฝนตก
เมื่ออากาศแจ่มใส แต่ฝนตกก็คนญี่ปุ่นมักบอกว่า “狐の嫁入り(きつねのよめいり)だ”

มีบ่อเกิดหลายอย่างที่คนญี่ปุ่นเรียกว่า “狐の嫁入り(きつねのよめいり)”

สำหรับคนสมัยเก่า แม้อากาศแจ่มใสแต่ฝนตก นี่คือปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาด
ในนิทานสมัยเก่าของญี่ปุ่นจิ้งจอกและแรคคูนเป็นสัตว์ที่หลอกล่อคนหรือให้คนงงโดยการแปลงร่างเป็นมนุษย์หรือสัตว์อื่น ๆ
เพราะฉะนั้น พอเกิดปรากฏการณ์ที่อธิบายไม่ได้จึงคนที่สมัยเก่าคิดว่า “มันได้ถูกหลอกล่อโดยจิ้งจอก” “จิ้งจอกทำให้ฝนตกเพื่อซ่อนขบวนพิธีแต่งงานของจิ้งจอกจากมนุษย์”

ผมจะแนะนำเรื่องเก่าของญี่ปุ่นที่เป็นบ่อเกิดเรื่องหนึ่งครับ

สมัยเก่า ที่หมู่บ้านหนึ่ง เกิดภัยแล้ง ดังนั้นชาวบ้านคุยกันและตกลงกันว่าจะบูชายัญเพื่อขอฝน แต่พวกเขาไม่ต้องการที่จะบูชายัญมนุษย์ ดังนั้นพวกเขาตัดสินใจว่าเสียสละจิ้งจอกที่กลายร่างเป็นคน และวางแผน

แผนคือให้ชายหนุ่มรูปหล่อในหมู่บ้านหลอกล่อจิ้งจอก
ชายหนุ่มรูปหล่อคนนี้บอกว่า “มาแต่งงานกันเถอะ” และพาจิ้งจอกตัวนี้มาหมู่บ้านแล้วก็จับจิ้งจอกตัวนี้และก็จะบูชายัญ

แต่ระหว่างทางหมู่บ้าน ชายหนุ่มรูปหล่อคนนี้ เริ่มรักจิ้งจอกที่กลายร่างเป็นมนุษย์ผู้หญิง ดังนั้นเขาบอกว่า”อย่ามากับผม ถ้ามากับผม ก็ชาวบ้านผมจะบูชายัญคุณ คุณต้องหนีไป”

แต่จิ้งจอกบอกว่าฉันไม่หนีไป ไปด้วยกันเพราะว่ารักผู้ชายคนนี้แล้ว
จิ้งจอกมาหมู่บ้านและสุดท้าย เธอถูกบูชายัญ

พอจิ้งจอกถูกบูชายัญ ฝนตกแม้ว่ามีแดดราวกับว่าจิ้งจอกร้องไห้

ดังนั้น ที่ญี่ปุ่น”แม้อากาศแจ่มใสแต่ฝนตก” เรียกว่า”狐の嫁入り(きつねのよめいり)”

 

===日本語===

狐の嫁入りは「天気雨」のことです。
天気が良いのに雨が降ると、よく日本人は「狐の嫁入りだ」と言います。

由来は諸説ありますが、昔は「天気雨は怪奇現象」として不思議がられていたことがあります。

日本の昔話では、狐と狸は、人間や他の動物に変身するなどして人を騙したり惑わせたりする動物です。このため、説明のつかない現象を、「狐に化かされているのではないか?」「狐の嫁入り行列を人間から隠すために、雨を降らせているのではないか?」と恐れ、「狐の嫁入り」と呼ばれるようになったのです。

由来の一つである昔の物語を一つ紹介します。

昔、ある村で干ばつが起こりました。そのため、村人たちは、雨乞いのために生贄を差しだすことにしたのですが、人間を生贄にしたくありませんでした。そこで、人に変身した狐を生贄にすることに決めます。

計画は、村のハンサムな男がメスの狐に「結婚しよう」と言って騙し、捕まえて生贄にするというものです。しかし、人間の女性に変身した狐を男は好きになってしまいます。そこで男は、生贄の計画を狐に教えて逃げるように言いましたが、狐は男が好きだから構わないと言い、村に来て生贄になります。

狐が生贄になったとき、晴れていたにもかかわらず雨が降り、まるで狐が泣いているようだったので、晴れた時の雨を「狐の嫁入り」と呼ぶようになりました。

 

※「狐の嫁入り」イメージ  จินตภาพของ狐の嫁入りของคนญี่ปุ่น

にほんブログ村 外国語ブログ タイ語へ


にほんブログ村

Author

福島(Fukushima) 竜太(Ryuta)
福島(Fukushima) 竜太(Ryuta)入管手続専門行政書士(Certified Administrative Procedures Legal Specialists/Immigration Consultant)
aroi行政書士事務所 代表行政書士(東京都行政書士会所属)
アジアランゲージセンター(株) 代表取締役
群馬県渋川市出身
大東文化大学国際関係学部(タイ語選択)卒業後、タイ・バンコクに2年間駐在
日本語教師・日本語学校事務(留学ビザ手続担当)を経て2009年10月行政書士登録

コメントを残す

メールアドレスが公開されることはありません。 が付いている欄は必須項目です

CAPTCHA


このサイトはスパムを低減するために Akismet を使っています。コメントデータの処理方法の詳細はこちらをご覧ください